10 นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมล้ำ ๆ ที่คุณอาจยังไม่รู้

เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม

หม้อแปลงไฟฟ้าเจริญชัย วิจัย/พัฒนา หม้อแปลง Low Carbonช่วยผู้ประกอบการลดคาร์บอน a hundred ล้านตัน/ปี เป็นนวัตกรรมคนไทยทันสมัยที่แรกของโลก ที่มีอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าชาญฉลาด/ทันสมัย เสมือนปลูกป่าในเมือง one hundred and five,263,158 ไร่ ดูดซับคาร์บอน มุ่งสู่ Net Zero… เรื่องที่กำลังเป็นประเด็นเร่งด่วนคือ “ปัญหาขยะ” ซึ่งขณะนี้ทั่วโลกมีการปล่อยขยะพลาสติกมากถึง 242 ล้านตัน และไทยอยู่อันดับ 12 ยิ่งบริการ Food Delivery และ Online Shopping เพิ่มขึ้น ขยะพลาสติกในไทยก็ยิ่งสูงขึ้น ไทยพยายามลดการใช้พลาสติกแบบครั้งเดียว… Banpu มีมติแต่งตั้ง สินนท์ ว่องกุศลกิจ ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) มีผลในวันที่ 2 เมษายน 2567 เผยปี 66 กำไรสุทธ… Talent War คือสนามรบสำหรับอาชีพ HR ที่ต้องมีอาวุธเป็นอย่าง HR Tech เพื่อแย่งชิง Tech Talent ให้องค์กรประสบความสำเร็จในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง… เปิดงานเสวนาโดย อาจารย์พินิจ ศิริพฤกษ์พงษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิโปรแกรมร่วมสนับสนุนทุนวิจัย กฟผ.- สวทช.

เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม

หากเราไม่เร่งแก้ไขปัญหานี้ แหล่งอาหารจากทะเล พื้นที่ดำน้ำศึกษาธรรมชาติ แหล่งรายได้จากการท่องเที่ยวจะไม่เหลือให้รุ่นลูกหลาน ที่ผ่านมา มีความพยายามแก้ปัญหาแนวปะการังเสื่อมโทรมโดยการใช้ปะการังเทียมที่ทำมาจากยางรถยนต์ รถถัง… อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวด้วยว่า การทำเกษตรในยุคสมัยใหม่ เราจะทำแบบเดิมไม่ได้ นักส่งเสริมการเกษตรต้องเชื่อมั่นว่า ถ้าเราทำงานร่วมกัน แบ่งปันข้อมูลมากขึ้น กรมส่งเสริมการเกษตรจะเติบโต สร้างคุณค่าที่เกษตรกรต้องการจากเราได้มากยิ่งขึ้น และเราจะส่งมอบข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ที่เหมาะสมให้เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกษตรกรไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น 3 เท่า ภายใน four ปี เพราะรอยยิ้มของเกษตรกร คือความภาคภูมิใจของเรา. อีร่า อะตอม (ERA ATOM) สามล้อไฟฟ้าสัญชาติไทย เปิดตัวเมื่อปีที่แล้วได้รับการตอบรับอย่างมากจากตลาด เนื่องจากมีรูปทรงทันสมัย เข้าโค้งได้อย่างมั่นใจ ด้วยการออกแบบช่วงล่างจากเทคโนโลยีรถแข่งในสนาม ที่มีความเสถียร ขับสนุก เกาะถนน และยังปลอดภัยแก่ผู้ใช้งานตอบโจทย์การขับในระยะใกล้… และในวันนี้เราจะมาพูดถึง 5 ตัวอย่างของ เทคโนโลยีในองค์กรที่เราพบเห็นกันได้ในปัจจุบัน และคุณอาจไม่เคยรู้มาก่อนว่า มันก็มีบทบาทในเรื่องของการเซฟโลกเช่นกัน และหากองค์กรกำลังมองหาวิธีประหยัดต้นทุนระยะยาว เทคโนโลยีเหล่านี้ก็สามารถช่วยได้เหมือนกัน …

เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม

น้ำมันพืชที่ใช้ประกอบอาหารแล้ว ไม่ควรนำกลับมาใช้ซ้ำเนื่องจากมีสารก่อมะเร็งและเป็นพิษต่อสุขภาพ นอกจากนี้ หากเท-ทิ้งน้ำมันเหล่านั้นไม่ถูกที่ถูกทางก็จะส่งผลกระทบด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย เช่น สภาวะโลกร้อน และปัญหาน้ำท่วมขังอันเนื่องมาจากท่อระบายน้ำอุดตัน ในทางตรงกันข้าม หากมีการจัดการที่ดี น้ำมันพืชใช้แล้วก็จะกลายเป็น “ทรัพยากรที่มีมูลค่า” ที่สามารถกลับมาเป็นประโยชน์ให้ชุมชนได้อีกครั้ง อย่างที่ในปัจจุบัน น้ำมันพืชใช้แล้วจำนวนหนึ่งจากภาคอุตสาหกรรมอาหาร ถูกแปลงให้เป็นไบโอดีเซล –… สถานการณ์โควิด-19 ที่ผ่านมา ส่งผลให้พฤติกรรมของผู้คนเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งในปัจจุบันมีการใส่ใจเรื่องสุขภาพมาเป็นอันดับแรก โดยมีการเลือกซื้อสินค้าและบริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องฝุ่น PM 2.5 ที่ทวีความรุนแรงภายในบ้านพักอาศัย รวมถึงเชื้อโรค แบคทีเรียที่ปนมากับอากาศ ซึ่งเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวมากที่สุด ทำให้ผู้บริโภคเริ่มมองหาตัวช่วยเพื่อสุขภาพที่ดีมากยิ่งขึ้น ซึ่งหลายคนอาจคิดว่าเมื่อมีฝุ่นก็ต้องมองหาเครื่องฟอกอากาศมาช่วยกำจัดมลพิษทำให้อากาศโดยรอบสะอาดมากขึ้น แต่ในปัจจุบันเครื่องฟอกอากาศอาจจะไม่เพียงพอที่จะตอบโจทย์การป้องกันฝุ่น มลพิษ… เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นชุดเครื่องมือ วิธีการ และเทคนิคที่ออกแบบด้วยพื้นฐานทางวิศวกรรมและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการส่วนบุคคลหรือส่วนรวม เทคโนโลยีมักถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัยที่มันกำลังเปลี่ยนผ่านและปรับตัวให้เข้ากับความต้องการของความเป็นจริง มันพัฒนาและปรับปรุงด้านต่างๆ ที่นำเข้าสู่สังคมได้ง่าย ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเป้าไปที่ความสะดวกสบายของผู้คนและคุณภาพของผลิตภัณฑ์เสมอ . แนวปะการังที่สวยงามในท้องทะเลไทยค่อยๆ หดหายลงไปเรื่อยๆ ด้วยสภาวะโลกร้อนที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวและจากกิจกรรมของมนุษย์โดยเฉพาะการท่องเที่ยวที่ปราศจากการควบคุมและจิตสำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติ จนวันนี้ แนวปะการังที่สวยงามและสมบูรณ์เหลืออยู่เพียง 1 ใน 3 เท่านั้น!

เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม